บทความ พระเครื่อง
 
  • พระเครื่อง พระสมเด็จ วัดระฆัง  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้  
  • พระเครื่อง พระ หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อคล้าย วัดสวนขัน  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อคลิ้ง วัดถลุงทอง  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อแช่ม วัดนวลนรดิศวรวิหาร  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อช้าง วัดเขียนเขต  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ศุข  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อเงิน  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อซัง  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติการาม  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเชย วัดเจษฎาราม  
  • พระเครื่อง กรมหลวงวชิรญานวงค์ วัดบวรฯ  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณร  
  • พระเครื่อง พระอธิการชู วัดนาคปรก  
  • พระเครื่อง หลวงพ่อซวง วัดชีปะขาว  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อฉ่ำ วัดท้องคุ้ง  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อจั่น วัดบางมอญ  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอร์  
  • พระเครื่อง พระ หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ  
  • พระเครื่อง พระ หลวงปู่ดู่ วัดสะแก  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อแฉ่ง วัดศรีรัตนาราม  
  • พระเครื่อง พระธรรมวโรดม วัดพระปฐมเจดีย์  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อกกล่อม วัดโพธาวาส  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อเกษม เขมโก  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่กลิ่น วัดสะพานสูง  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อก๋ง วัดเขาสมอคอน  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม  
  • พระเครื่อง พระอุปัชฌากรัก วัดอัมพวัน  
  • พระเครื่อง พระครูนิสิตคุณากร (กัน)  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่เขียว วัดหรงบล  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ไข่ วัดบางเลน  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่แก้ว วัดช่องลม  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อเกิด วัดบางเดื่อ  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่กลีบ วัดตลิ่งชัน  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อคง วัดซำป่างาม  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อครน วัดบางแซะ  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อกึ๋น วัดดอน  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่กลีบ วัดตลิ่งชัน  
  • พระเครื่อง พระสังวรานุวงค์เถร(ชุ่ม) (พลับ)  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อดิ่ง วัดบางวัว  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเชิด วัดลาดบัวขาว  
  • พระเครื่อง พระครูเนกขัมมาภิมณฑ์ วัดปากสะ  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ช่วง วัดบางแพรกใต้  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อช่วง วัดปากน้ำ  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อขำ วัดปราสาทนิกร  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ขำ วัดแก้ว  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ขาว วัดหลักสี่  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ขาว วัดถ้อกองเพล  
  • พระเครื่อง พระกรมหลวงชินวร สิริวัฒน์  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่ชอบ วัดป่าสัมมนานุสรณ์  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อเงินวัดบางคลาน  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่จันทร์ วัดบ้านยาง  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อฉุย วัดคงคาราม  
  • พระเครื่อง พระญานไตรโลก(ฉาย)  
  • พระเครื่อง พระ หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อคง วัดบางกะพร้อม  
  • พระเครื่อง พระอุปัชฌาเข็ม วัดม่วง  
  • พระเครื่อง พระสมุห์ขิง วัดกลาง  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่จัน วัดโมลี  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่จีน วัดท่าลาด  
  • พระเครื่อง พระพระอุบาลีคุณูปมาจารย  
  • พระเครื่อง พระหลวงพ่อเงิน วัดอินทรวิหาร  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่เจียม วัดกำแพง  
  • พระเครื่อง สมเด็จ ม.ร.ว.เจริญอิศรางกูร  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่จันทร์ วัดศรีเทพ  
  • พระเครื่อง พระหลวงปู่จันทร์ วัดนางหนู  
  • พระเครื่อง พระพุทธวิริยากร วัดสัตตนารท  
  • พระเครื่อง สมเด็จพระญานวรเถร  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเงินวัดท้ายตลาด  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อโขติ วัดตะโน  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อเชย วัดท่าควาย  
  • พระเครื่อง พระ หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัน


  • แนะนําเว็ปไซด์




    หลวงพ่อมุม,หลวงพ่อมุม


    ประวัติ พระเครื่อง
    ประวัติหลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอร์ ( พระครูประสาธน์ขันธคุณ ) จ.ศรีสะเกษ
     

    จำนวนชม : 7288 เขียนเมื่อ : พฤ. - 27 พ.ค. 2553 - 15:57.43 ผู้เขียน : หนึ่งขุนหาญ (18) .....เป็นเรื่องแปลกประหลาดอย่างยิ่งที่ครูบาอาจารย์อย่าง..หลวงพ่อมุม..ที่คนทั้งบ้านทั้งเมืองรู้จักและศรัทธาเต็มหัวใจกลับหาตัวผู้ทราบประวัติของท่านได้อย่างลึกซึ้งไม่มี ท่านจึงเป็นครูบาอาจารย์ที่มีความเป็นมาของท่านมัวซัว เหมือนมีหมอกขึงม่านกั้นไว้ ไม่อาจมองเห็นหรือทราบชัด หลายคนไม่เชื่อว่าท่านเป็นชาวบ้านปราสาทเยอร์ แต่ในประวัติที่มีผู้ได้บันทึกไว้บอกว่า..ท่านเกิดที่บ้านปราสาทเยอร์ ข้อขัดแย้งนี้มีน้ำหนักมากพอๆกัน เหตุผลของฝ่ายที่ไม่เชื่อว่าท่านเป็นชาวบ้านปราสาทเยอร์ คือท่านเป็นคนผิวขาวเกินไป ผิดวิสัยของชาวปราสาทเยอร์ที่ผิวคล้ำดำ เพราะว่าโดยมากถือเชื้อสายค่อนไปทางเขมร แต่หลวงพ่อมุมต่างเขาผู้อื่นอยู่คนเดียว ถ้าหากว่าท่านเกิดที่บ้านปราสาทเยอร์จริง บิดามารดาของท่านก็คงจรมาจากที่อื่นเป็นคนต่างถิ่น ไม่ใช่คนบ้านปราสาทเยอร์ เหตุผลนี้น่าฟังอยู่เหมือนกัน....ในประวัติที่ทางวัดบันทึกไว้อย่างสั้นที่สุด...น้อยที่สุด....ก็ไม่บอกว่าท่านเป็นใคร มาจากไหน บิดา มารดาเป็นใคร เหลือเชื่อที่ไม่มีใครบันทึกไว้เลย ถามไถ่ท่านเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันที่เคยอยู่ร่วมกัน หลวงพ่อมุมสมัยที่องค์ท่านยังมีชีวิตอยู่ ก็ยังไม่อาจบอกได้...ประวัติหลวงพ่อมุมที่ทางวัดบันทึกไว้ คงเริ่มบันทึกแต่สมัยที่ท่านมาอยู่วัดบ้านปราสาทเยอร์เป็นต้นมา ก่อนหน้านั้นไม่มีการบันทึก ไม่มีประวัติหรือรายละเอียดใด ๆ ของหลวงพ่อมุมแม้แต่น้อย...คงกล่าวแต่เพียงว่าท่านมาอยู่ที่วัดปราสาทเยอร์แล้วได้ดำรงตำแหน่งเป็นครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนบ้านประอาง เมื่อ พ.ศ. 2459 - 2474 เป็นเวลา 15 ปี นี่คือส่วนที่ลึกที่สุดของประวัติท่าน ต่อจากนั้นก็เริ่มบันทึกเรื่องราวของท่านตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 เรื่อยมาจนมรณภาพ...การจะเขียนถึงประวัติของท่านจึงเป็นเหมือนคนตาบอดตาฟางคลำหาเป้า ซึ่งข้อผิดพลาดย่อมมีได้ แต่จะลองคลำดู ผิดหรือถูกก็ทิ้งไว้เป็นภาระของผู้รู้ตามแก้ไขภายหลังก็แล้วกัน..... ....ชาติกำเนิดของ...หลวงพ่อมุม อินฺทปัญโญ....ดูจะสับสนอยู่ไม่น้อย ไม่มีใครยืนยันชัดเจนว่าท่านเป็นชาวบ้านปราสาทเยอร์จริงหรือไม่ ผู้เชื่อว่าท่านเป็นชาวบ้านปราสาทเยอร์ก็มี ไม่เชื่อก็มี พื้นเพดั้งเดิมของท่านจึงคลุมเครือ ไม่อาจลงเป็นหลักได้ กระทั่งวัน เดือน ปีเกิดก็หาผู้บันทึกไว้อย่างแน่ชัดไม่ได้ แต่ก็มีผู้ระบุว่าท่านเกิดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2430 โดยเกิดที่บ้านปราสาทเยอร์นี่เอง เป็นบุตรของนายมากและนางอิ่ม นามสกุล บุญโญ มีพี่น้องร่วมอุทร 5 คน ท่านเป็นคนสุดท้อง วันเดือนปีที่ปรากฏนี้ก็ไม่มีผู้สนับสนุนว่าถูกต้อง แต่ในรูปเหมือนหล่อด้วยโลหะเท่าองค์จริงที่ประดิษฐานอยู่ประจำวัดปราสาทเยอร์ ทุกวันนี้ มีจารึกว่าถูกสร้างขึ้นอยู่ด้วยคือ “อายุครบ 90 ปี 4 มี.ค. 2520" บางทีวันที่ 4 มีนาคม จะเป็นวันเกิดของท่านก็ไม่รู้ ...ชีวิตวัยเด็กของท่านนั้นหนังสืออนุสรณ์งานศพบันทึกว่า ท่านได้รับการศึกษาอักษรไทยจากเจ้าอธิการปริม จนอ่านออกเขียนได้ และได้ศึกษามูลกัจจายนะสูตรจนสอบได้นักธรรมตรี ในสนามหลวง และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นครูใหญ่สอนหนังสือไทยในโรงเรียนวัดบ้านปราสาทเยอร์เหนือคนแรก ระหว่าง

    ข้อมูลจากเว็ป   http://www.web-pra.com/Article/Show/477